Princess Thitaya Songklot Chakrabandhu

The basics

Quick Facts

Gender
Female
Birth21 August 1916
Death5 July 2010 (aged 93 years)
Star signLeo
Family
Children:Mom Rajawongse Sodsri Panyarachun
The details

Biography

หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์ (ราชสกุลเดิม รพีพัฒน์; 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553) เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ประสูติแต่หม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา

พระประวัติ

หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด เป็นพระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ประสูติแต่หม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 ทรงศึกษาระดับมัธยมที่โรงเรียนเซนต์แมรี่ ต่อมาเมื่อมีชันษา 17 ปี ได้เสกสมรสกับหม่อมเจ้าคัสตาวัส จักรพันธุ์ (พระโอรสในพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นอนุวัตน์จาตุรนต์) มีโอรส-ธิดา 3 คน คือ

  • หม่อมราชวงศ์กทลี สุนทรสิงคาล สมรสกับพันตำรวจเอกวสิฐ สุนทรสิงคาล
  • หม่อมราชวงศ์สดศรี ปันยารชุน สมรสกับอานันท์ ปันยารชุน
  • หม่อมราชวงศ์ตราจักร จักรพันธุ์ สมรสกับอรวรรณ (สกุลเดิม ตันตยาวนารถ)

ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลดประทับอยู่ในยุโรป เป็นอาสาสมัครพยาบาลอาสากาชาด เพื่อทรงช่วยเหลือทหารที่ได้รับบาดเจ็บ และทรงติดตามหม่อมเจ้าคัสตาวัส สวามี ไปทรงปฏิบัติกรณียกิจในฐานะภริยาทูต ในประเทศเดนมาร์ก ประเทศสวีเดน และประเทศฟินแลนด์

หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์ สิ้นชีพิตักษัยด้วยพระโรคโลหิตออกใต้เยื่อหุ้มมัตถลุงค์ เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 สิริชันษา 94 ปี นับเป็นหม่อมเจ้าองค์สุดท้ายของราชสกุลรพีพัฒน์และจักรพันธุ์ การนี้พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานน้ำหลวงสรงพระศพ ในวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เวลา 17.30 น. ณ ศาลาเจ้าจอม วัดธาตุทอง และพระราชทานพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมศพ ทรงรับศพไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ เป็นเวลา 7 วัน สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินไปยังเมรุวัดธาตุทอง ในการพระราชทานเพลิงศพเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

  • พ.ศ. 2532 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) (ฝ่ายใน)
  • พ.ศ. 2508 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 3 (ภ.ป.ร.3)
  • พ.ศ. 2484 – เหรียญช่วยราชการเขตภายใน การรบสงครามมหาเอเชียบูรพา (ช.ร.)

พงศาวลี

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
16. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
 
 
 
 
 
 
8. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
17. สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี
 
 
 
 
 
 
 
4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
18. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์
 
 
 
 
 
 
 
9. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
19. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา
 
 
 
 
 
 
 
2. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10. พระยาเวียงในนฤบาล (หรั่ง เกตุทัต)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
5. เจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11. อิ่ม เวียงในนฤบาล
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1. หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
6. พระยาสุพรรณพิจิตร (โต)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3. หม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
28. พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหลวงเสนีบริรักษ์
 
 
 
 
 
 
 
14. หม่อมเจ้าหนู เสนีวงศ์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7. หม่อมราชวงศ์สำอาง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
16. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
 
 
 
 
 
 
8. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
17. สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี
 
 
 
 
 
 
 
4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
18. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์
 
 
 
 
 
 
 
9. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
19. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา
 
 
 
 
 
 
 
2. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10. พระยาเวียงในนฤบาล (หรั่ง เกตุทัต)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
5. เจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11. อิ่ม เวียงในนฤบาล
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1. หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
6. พระยาสุพรรณพิจิตร (โต)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3. หม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
28. พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหลวงเสนีบริรักษ์
 
 
 
 
 
 
 
14. หม่อมเจ้าหนู เสนีวงศ์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7. หม่อมราชวงศ์สำอาง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
16. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
 
 
 
 
 
 
8. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
17. สมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี
 
 
 
 
 
 
 
4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
18. สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมื่นมาตยาพิทักษ์
 
 
 
 
 
 
 
9. สมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
19. หม่อมน้อย ศิริวงศ์ ณ อยุธยา
 
 
 
 
 
 
 
2. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10. พระยาเวียงในนฤบาล (หรั่ง เกตุทัต)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
5. เจ้าจอมมารดาตลับ ในรัชกาลที่ 5
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11. อิ่ม เวียงในนฤบาล
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1. หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
6. พระยาสุพรรณพิจิตร (โต)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3. หม่อมอ่อน รพีพัฒน์ ณ อยุธยา
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
28. พระสัมพันธวงศ์เธอ กรมหลวงเสนีบริรักษ์
 
 
 
 
 
 
 
14. หม่อมเจ้าหนู เสนีวงศ์
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7. หม่อมราชวงศ์สำอาง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

อ้างอิง

  • พีระเดช อนุพงษ์ จักรพันธุ์, ม.ร.ว.. ๑๕๐ ปี สมเด็จเจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมีฯ กรมพระจักรพรรดิพงษ์. กรุงเทพฯ : กระทรวงการคลัง, 2548. 278 หน้า.
  • นิกร ทัสสโร. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระบิดาแห่งกฎหมายไทย. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์, 2549. 520 หน้า. ISBN 974-9909-30-5
The contents of this page are sourced from Wikipedia article on 06 Apr 2024. The contents are available under the CC BY-SA 4.0 license.